โรงแรม ราช บงกช ม ทร ธัญบุรี

การ กำหนด เป้าหมาย ใน การ ทำงาน

Sat, 24 Jul 2021 12:11:02 +0000
  1. ตั้งเป้าหมายการทำงานในปีหน้า เพื่อเตรียมหางานที่ใช่กว่าภายในสิ้นปีนี้ | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย

เข้าใจได้ (Conceivable) 2. ยอมรับได้ (Beleivable) 3. บรรลุได้ (Achievable) 4. ควบคุมได้ (Controllable) 5. วัดได้ (Measurable) 6. เฉพาะเจาะจง (Specific) เราจะเห็นว่าวัตถุประสงค์จะมีความสำคัญกับการบริหารงานสมัยใหม่ โดยที่นอกจากการกำหนดวัตถุประสงค์ระดับกลยุทธ์ ระดับหน่วยงาน และระดับปฏิบัติงานแ หลายองค์การยังใช้เทคนิค " การจัดการโดยกำหนดวัตถุประสงค์ (Management by Objectives, MBO)" ในการบริหารงานผ่านการตั้งเป้าหมายและการกำหนดวัตถุประสงค์ร่วมกันระหว่างบุคคลและองค์การ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้เกิดประสิทธิภาพ

ตั้งเป้าหมายการทำงานในปีหน้า เพื่อเตรียมหางานที่ใช่กว่าภายในสิ้นปีนี้ | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย

เป้าหมายมีส่วนกำหนดมาตรฐานในการทำงานและการประเมินประสิทธิภาพของระบบ 8.

  • คำ ศัพท์ ภาษา อังกฤษ เกี่ยว กับ space agency
  • (เช็คสูตร) รีวิวยูเซอริน โปรแอคเน่ รักษาสิวๆได้จริง by กูรูยาหม่อง - YouTube
  • ความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความสามารถตนเอง การกำหนดเป้าหมาย บุคลิกภาพเชิงรุก กับประสิทธิผลในการทำงาน ของพนักงานสถาบันการเงินแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร | บัวทอง | วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • ตั้งเป้าหมายการทำงานในปีหน้า เพื่อเตรียมหางานที่ใช่กว่าภายในสิ้นปีนี้ | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย
  • Watsadupedia : วัสดุพีเดีย คลังความรู้เกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง ที่อยู่อาศัย อาคาร วิชาชีพและงานบริการที่เกี่ยวข้อง
  • “เป้าหมายในการทำงาน 3 ประเภท” ที่ทุกคนควรมี เพื่อให้เส้นทางความสำเร็จ เป็นไปได้มากยิ่งขึ้น! | SUMREJ - ประสบความสำเร็จ
  • Apple envy new zealand ราคา images
  • สรุป 5 วิธีการตั้งเป้าหมายในการทำงาน ให้ประสบความสำเร็จ มีอะไรบ้าง
  • ขับ รถ ผู้ บริหาร ต่าง ชาติ เงินเดือน 5000 euros
  • ดู หนัง ออนไลน์ ant man 1
  • หลวงพ่อเกีย วัดภุมรินทร์กุฎีทอง ปี 2458-จามเทวี53 พระเครื่อง พระแท้ ประมูล ร้านค้า เว็บ-พระ.คอม

การกำหนดเป้าหมายระยะสั้น กำหนดเป้าหมายเล็กๆ ที่คุณสามารถทำให้สำเร็จได้ในเวลาสั้นๆ หรือระยะเวลาประมาณหนึ่งสัปดาห์โดยประมาณ ลองถามตัวเองว่าคุณต้องทำอะไรบ้างในสัปดาห์นี้ ที่จะช่วยให้ชีวิตคุณเดินไปตามทางที่คุณวางแผนระยะยาวไว้ได้ ยกตัวอย่างเช่น หากคุณอยากเป็นนักเขียน เป้าหมายระยะสั้นของคุณอาจจะเป็น การฝึกเขียนบทความได้ห้าหน้ากระดาษ หรืออาจเข้าคอร์สอบรมการเขียนรายสัปดาห์ ไม่ก็เริ่มอ่านหนังสือในเรื่องที่กำลังอยากศึกษาอย่างจริงจัง ซึ่งการทำเป้าหมายเล็กๆ เหล่านี้ให้สำเร็จนี่แหละ ที่เหมือนกับการค่อยๆ ฝึกฝนคุณให้มีวินัยและพร้อมที่จะตั้งเป้าหมายให้ใหญ่กว่าเดิมได้ 3.

ปริญญาศิลปศาตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. รติ ศรีเหมือน. ศึกษาลักษณะบุคลิกภาพเชิงรุก แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน: กรณีศึกษาองค์การเอกชนแห่งหนึ่ง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. รัตนา ศิริพานิช. (2533). หลักการสร้างแบบสอบวัดทางจิตวิทยาและการศึกษา. กรุงเทพฯ: สาขาจิตวิทยาอุตสหกรรมและองค์การ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ละม้าย เกิดโภคทรัพย์. (2548). การรับรู้ความสามารถของตนเองกับความเหนื่อยหน่ายของงานบุคลากรทางการพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐบาลแห่งหนึ่ง. งานวิจัยส่วนบุคคลมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วรารัตน์ บุญณสะ. ความสัมพันธ์ระหว่างความตั้งใจคงอยู่ในงานของพยาบาลใหม่กับการตั้งเป้าหมายส่วนบุคคลและความผูกพันต่อเป้าหมาย: กรณีศึกษาโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. ปริญญาศิลปศาตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วัฒนมาศ ปั้นแตง. ผลของการรับรู้ความสามารถตนเอง และ การกำหนดเป้าหมายที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานในโรงงานผลิตกางเกงยีนส์แห่งหนึ่ง.

สายทิพย์ ขันจันทร์. (2552-3). ความสามารถในการร่วมกันพยากรณ์ของการรับรู้ความสามารถของตนเองการตั้งเป้าหมายและความสัมพันธ์ในครอบครัวที่มีต่อสุขภาพจิตของนักเรียนอาชีวศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาการปรึกษา, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สิทธิโชค วรานุสันติกุล. (2546). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีการประยุกต์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. สุนันทา คาเนโกะ. อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การตั้งเป้าหมายใน การทำงาน และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ในการสอนที่มีต่อพฤติกรรมการสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. โสภณ บุญถนอมวงศ์. ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมเริ่มต้นด้วยตนเอง บุคลิกภาพเชิงรุก ความมานะพยายาม การยึดมั่นต่อเป้าหมายและความริเริ่มด้วยตนเองของพนักงานขายยา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อาโควี, สตีเฟน. (2539). 7 อุปนิสัย พัฒนาสู่ผู้มีประสิทธิผลสูง. (สงกรานต์ จิตสุทธิภากร และ นิรันดร์ เกชาคุปต์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูชั่น.

ตัวอย่าง งาน วิจัย บท ที่ 4 เชิง พรรณนา

อาลิสรา รัตนกุล. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพเชิงรุก เชาว์อารมณ์ ประสบการณ์การทำงานขาย เกรดเฉลี่ยสะสมกับยอดขายของเจ้าหน้าที่การตลาดสินเชื่อเคหะ: ศึกษาเฉพาะกรณีธนาคารเอกชนแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Allen, B. P. (1986). Personality theories: Development, growth and diversity. New York: Pearson Allport, G. W. (1961). Pattern and growth in personality. New York: Halt, Rinehart and Winson. Arthur, M. B. Hall, D. T., & Lawrence, B. S. (1989). Handbook of Career Theory. New York, NY: Cambridge University Press. Akinson, J. (1984). An introduction to motivation. Princeton, N. J. : Van Nostrad. Bandura, A. Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. New Jersey: Prentice Hall. Bandura, A. (1997). Self – efficacy: The exercise of control. New York: W. H. Freeman and Company. ______. (1999). Social cognitive theory of personality. In L. Pervin & O. John (Eds). Handbook of Personality. New York: Guildford.

วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วัลภา สบายยิ่ง. (2542). ปัจจัยด้านการตั้งเป้าหมายการรับรู้ความสามารถของตนเองและบุคลิกภาพที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของผู้จำหน่ายตรง. วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2544). ลักษณะบุคลิกภาพของนักศึกษาไทย 6 สาขาอาชีพ จากการชี้วัดของ MBTI. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ______. ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ (รู้เขา รู้เรา) (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน. ศศิวิมน เพชรอาวุธ. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพเชิงรุก แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ: กรณีศึกษาผู้แทนยาในบริษัทยาแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สมหทัย ภู่พะเนียด. การตั้งเป้าหมายในการทำงานและการรับรู้วัฒนธรรมองค์การที่พยากรณ์ความสำเร็จในงานของบุคลากร: ศึกษาเฉพาะกรณีบุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ปริญญาศิลปศาตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จรรยพร สุรัตนชัยการ. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานของพนักงานบริษัทแม่กลองฟู้ดส์ จำกัด. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การจัดการ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิตรลดา สุภานันท์. (2552). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำแบบปฏิรูป การรับรู้ว่าตนมีความสามารถที่จะทำได้ แรงจูงใจภายในในการปฏิบัติงานของผู้ตาม และความพึงพอใจในงานโดยรวม: กรณีศึกษา ทำเนียบองคมนตรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. จิรพรรณ พรเลิศประเสริฐ. (2556). บุคลิกภาพเชิงรุก การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการรับรู้ความสำเร็จในอาชีพ: กรณีศึกษาพนักงานบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศที่ใช้ระบบโลจิสติกส์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. งานวิจัยส่วนบุคคล จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ณัชชามน แสวงสุข. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเอง บุคลิกภาพ พฤติกรรมการจัดการและความสำเร็จในอาชีพของผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม โครงการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม.

ชัดเจนเป็นรูปธรรม 2. ต้องใช้ความพยายามในการดำเนินการ 3. มีเงื่อนเวลา 4. มีเหตุผล 5. สร้างความเข้าใจร่วมกัน 6. สามารถวัดได้ เป้าหมายที่ดีต้องดึงดูดและกระตุ้นการดำเนินงานขององค์การ และควรสอดคล้องกับสภาวะการดำเนินงานของอุตสาหกรรม ระดับของความต้องการ และความสามารถในการดำเนินงานขององค์การ ส่วนประกอบของวัตถุประสงค์ที่เหมาะสม ความต้องการที่มีความสำคัญต่อองค์การ ตลอดจนกำหนดขอบเขตและระดับความก้าวหน้าที่ต้องการ ซึ่งต้องกำหนดตามหัวข้อดังนี้ 1. สิ่งที่องค์การต้องการ 2. ความก้าวหน้าในการบรรลุความต้องการ 3. กำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน การกำหนดเป้าหมายขององค์การจะให้ความสำคัญกับการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมที่ต้องปฏิบัติอย่างจริงจัง ซึ่งผู้บริหารสามารถสร้างโอกาสในการบรรลุเป้าหมายได้ดังต่อไปนี้ 1. กำหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายรวมขององค์การและของบุคคล 2. กำหนดเป้าหมายที่กระตุ้นและดึงดูดความสนใจ 3. กำหนดเป้าหมายที่สนองความต้องการของสมาชิกในฐานะบุคคลที่สมบูรณ์ 4. เขียนและ / หรือบันทึกเป้าหมายที่ต้องการเป็นลายลักษณ์อักษร 5. กำหนดแผนการที่ชัดเจนในการบรรลุเป้าหมาย 6. กำหนดเส้นตาย (Deadine) ที่แน่นอนไม่ใช่เปลี่ยนไม่ได้ (Rigid) แต่มีเหตุผลในการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้นักบริหารสามารถทำการทดสอบเป้าหมายโดยพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้ 1.

ทัวร์ ญี่ปุ่น ทัวร์ ไหน ดี

การตั้งเป้าหมายในการทำงานช่วยให้คุณวางแผนการทำงานได้ดียิ่งขึ้น เมื่อคุณรู้ว่าจุดหมายปลายทางของคุณคืออะไร คุณก็จะสามารถออกแบบการเดินทางไปให้ถึงเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น คุณได้วางเป้าหมายด้านการทำงานของคุณ คือ ต้องการจะเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาติ ดังนั้นคุณต้องวางแผนตั้งแต่การศึกษาว่าต้องจบการศึกษาในสาขาใดที่เกี่ยวข้อง ต้องเข้าไปทำงานในบริษัทตรวจสอบบัญชี และเก็บชั่วโมงการทำงานเท่าไหร่ ต้องผ่านการสอบวิชาการบัญชี ตามที่สภาวิชาชีพบัญชี กำหนดกี่วิช 2. การตั้งเป้าหมายในการทำงานช่วยให้คุณมีพลังในการทำงาน เพราะเป้าหมายคือสิ่งที่คุณปราถนาและต้องการ เป้าหมายด้านการทำงาน จึงเป็นแรงขับเคลื่อนที่ดีเมื่อคุณต้องพบกับอุปสรรคหรือปัญหาอะไรก็แล้วแต่ เพราะคุณรู้ดีว่าผลลัพธ์ที่ปลายทางเป้าหมายเป็นสิ่งที่คุณต้องการมากแค่ไหน 3. การตั้งเป้าหมายในการทำงานช่วยให้คุณพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ระหว่างทางที่คุณต้องทำตามแผนการเพื่อไปถึงเป้าหมาย คุณต้องประเมินดูเป็นระยะว่าคุณเข้าใกล้เป้าหมายตามที่ตั้งใจไว้ช้ากว่าที่ควรจะเป็นหรือไม่ หากคุณทำตามเป้าหมายไม่ได้ตามที่วางไว้ คุณก็ควรที่จะถีบตัวเองขึ้นมา พัฒนาทักษะและความสามารถในตัวที่จำเป็นต่อการเดินตามเป้าหมายที่วางไว้ให้ได้นั่นเอง 4.